Half Sized Blog Element (Single Author Style)

Half Sized Blog Element (Multi Author Style)

จุดเด่นและข้อจำกัดของเทคโนโลยีอาร์เอฟไอดี (RFID Technoogy)

จุดเด่นของเทคโนโลยีอาร์เอฟไอดี (RFID) เมื่อมีการกล่าวถึงเทคโนโลยีอาร์เอฟไอดี (RFID)  ย่อมหลีกเลี่ยงไม่ได้ที่จะกล่าวถึงเทคโนโลยีบาร์โค้ด  ซึ่งเป็นหนึ่งในเทคโนโลยีที่ใช้ในการระบุสิ่งต่าง ๆ  อย่างไรก็ตามเทคโนโลยีทั้งสองต่างก็มีจุดเด่นของตนเอง  ในกรณีของเทคโนโลยีอาร์เอฟไอดี (RFID) นั้น  จุดเด่นของเทคโนโลยีอาร์เอฟไอดี (RFID) สามารถที่จะแบ่งได้เป็นประเด็นต่าง ๆ ต่อไปนี้ o         การไม่ต้องสัมผัส (Contactless) ลักษณะพื้นฐานอันหนึ่งของเทคโนโลยีอาร์เอฟไอดี (RFID) คือการที่อาร์เอฟไอดีแท๊ก (RFID Tag)  ไม่จำเป็นต้องสัมผัสกับเครื่องอ่านอาร์เอฟไอดี  (RFID Reader) ก็สามารถที่จะส่งข้อมูลได้  ด้วยจุดเด่นนี้   ทำให้เทคโนโลยีนี้มีข้อได้เปรียบหลายประการ  ได้แก่ oเครื่องอ่านอาร์เอฟไอดี (RFID Reader) ไม่มีการสึกหรอ  เนื่องจากไม่มีการสัมผัสระหว่างระหว่างอาร์เอฟไอดีแท๊ก (RFID Tag)  กับเครื่องอ่านอาร์เอฟไอดี (RFID Reader)  ดังนั้นการสึกหรอของอุปกรณ์ซึ่งโดยปกติจะเกิดขึ้นจากการสัมผัสจะไม่เกิดขึ้น oความเร็วในการทำงานไม่ลดลง  ในการทำงานปัจจุบันจะเห็นได้ว่า  หากใช้เทคโนโลยีที่ต้องมีการสัมผัส  บ่อยครั้งที่ทำให้กระบวนการทำงานช้าลง   ตัวอย่างเช่น การทำงานบนสายพาน  ซึ่งอุปกรณ์  หรือสินค้ามีการเคลื่อนไหวอยู่ตลอด  การอ่านหรือบันทึกข้อมูลโดยการสัมผัสไม่สามารถที่จะเป็นไปได้ oความสามารถในการอ่านอาร์เอฟไอดีแท๊ก (RFID Tag)  พร้อมกันหลายอาร์เอฟไอดีแท๊ก (RFID Tag) […]

การสื่อสารกันระหว่างเครื่องอ่านอาร์เอฟไอดี (RFID Reader) กับ อาร์เอฟไอดีแท๊ก (RFID Tag)

การสื่อสารกันระหว่างเครื่องอ่านอาร์เอฟไอดี (RFID Reader) กับอาร์เอฟไอดีแท๊ก (RFID Tag) นั้นขึ้นอยู่กับประเภทของอาร์เอฟไอดีแท๊ก (RFID  Tag)  ก่อนที่กล่าวถึงรายละเอียดของการสื่อสารในแต่ละแบบ  อาณาเขตระหว่างเสาอากาศของเครื่องอ่านอาร์เอฟไอดี (RFID Reader) สามารถส่งสัญญาณคลื่นวิทยุได้ระยะสั้นเรียกว่า Near Field  ส่วนบริเวณที่ไกลออกไปเรียกว่า   Far Field  โดยปกติ Passive RFID ที่ใช้คลื่นความถี่  LF และ  HF จะติดต่อสื่อสารกับเครื่องอ่านอาร์เอฟไอดี (RFID Reader) ในบริเวณที่เรียกว่า  Near Field   ในขณะที่คลื่นความถี่  UHF หรือสูงกว่า  จะติดต่อสื่อสารกับเครื่องอ่านอาร์เอฟไอดี (RFID Reader) ในบริเวณ  Far Field   ดังนั้นจะเห็นได้ว่าอาร์เอฟไอดีแท๊ก (RFID Tag) ที่สื่อสารในบริเวณ  Far Field สามารถที่จะติดต่อสื่อสารได้ในระยะที่ไกลกว่า ลักษณะการสื่อสารข้อมูลระหว่างอาร์เอฟไอดีแท๊ก (RFID Tag)  กับเครื่องอ่านอาร์เอฟไอดี (RFID Reader) มีสามลักษณะคือ  Modulated […]

จุดเด่นและข้อจำกัดของเทคโนโลยีอาร์เอฟไอดี (RFID Technoogy)

จุดเด่นของเทคโนโลยีอาร์เอฟไอดี (RFID) เมื่อมีการกล่าวถึงเทคโนโลยีอาร์เอฟไอดี (RFID)  ย่อมหลีกเลี่ยงไม่ได้ที่จะกล่าวถึงเทคโนโลยีบาร์โค้ด  ซึ่งเป็นหนึ่งในเทคโนโลยีที่ใช้ในการระบุสิ่งต่าง ๆ  อย่างไรก็ตามเทคโนโลยีทั้งสองต่างก็มีจุดเด่นของตนเอง  ในกรณีของเทคโนโลยีอาร์เอฟไอดี (RFID) นั้น  จุดเด่นของเทคโนโลยีอาร์เอฟไอดี (RFID) สามารถที่จะแบ่งได้เป็นประเด็นต่าง ๆ ต่อไปนี้ o         การไม่ต้องสัมผัส (Contactless) ลักษณะพื้นฐานอันหนึ่งของเทคโนโลยีอาร์เอฟไอดี (RFID) คือการที่อาร์เอฟไอดีแท๊ก (RFID Tag)  ไม่จำเป็นต้องสัมผัสกับเครื่องอ่านอาร์เอฟไอดี  (RFID Reader) ก็สามารถที่จะส่งข้อมูลได้  ด้วยจุดเด่นนี้   ทำให้เทคโนโลยีนี้มีข้อได้เปรียบหลายประการ  ได้แก่ oเครื่องอ่านอาร์เอฟไอดี (RFID Reader) ไม่มีการสึกหรอ  เนื่องจากไม่มีการสัมผัสระหว่างระหว่างอาร์เอฟไอดีแท๊ก (RFID Tag)  กับเครื่องอ่านอาร์เอฟไอดี (RFID Reader)  ดังนั้นการสึกหรอของอุปกรณ์ซึ่งโดยปกติจะเกิดขึ้นจากการสัมผัสจะไม่เกิดขึ้น oความเร็วในการทำงานไม่ลดลง  ในการทำงานปัจจุบันจะเห็นได้ว่า  หากใช้เทคโนโลยีที่ต้องมีการสัมผัส  บ่อยครั้งที่ทำให้กระบวนการทำงานช้าลง   ตัวอย่างเช่น การทำงานบนสายพาน  ซึ่งอุปกรณ์  หรือสินค้ามีการเคลื่อนไหวอยู่ตลอด  การอ่านหรือบันทึกข้อมูลโดยการสัมผัสไม่สามารถที่จะเป็นไปได้ oความสามารถในการอ่านอาร์เอฟไอดีแท๊ก (RFID Tag)  พร้อมกันหลายอาร์เอฟไอดีแท๊ก (RFID Tag) […]

การสื่อสารกันระหว่างเครื่องอ่านอาร์เอฟไอดี (RFID Reader) กับ อาร์เอฟไอดีแท๊ก (RFID Tag)

การสื่อสารกันระหว่างเครื่องอ่านอาร์เอฟไอดี (RFID Reader) กับอาร์เอฟไอดีแท๊ก (RFID Tag) นั้นขึ้นอยู่กับประเภทของอาร์เอฟไอดีแท๊ก (RFID  Tag)  ก่อนที่กล่าวถึงรายละเอียดของการสื่อสารในแต่ละแบบ  อาณาเขตระหว่างเสาอากาศของเครื่องอ่านอาร์เอฟไอดี (RFID Reader) สามารถส่งสัญญาณคลื่นวิทยุได้ระยะสั้นเรียกว่า Near Field  ส่วนบริเวณที่ไกลออกไปเรียกว่า   Far Field  โดยปกติ Passive RFID ที่ใช้คลื่นความถี่  LF และ  HF จะติดต่อสื่อสารกับเครื่องอ่านอาร์เอฟไอดี (RFID Reader) ในบริเวณที่เรียกว่า  Near Field   ในขณะที่คลื่นความถี่  UHF หรือสูงกว่า  จะติดต่อสื่อสารกับเครื่องอ่านอาร์เอฟไอดี (RFID Reader) ในบริเวณ  Far Field   ดังนั้นจะเห็นได้ว่าอาร์เอฟไอดีแท๊ก (RFID Tag) ที่สื่อสารในบริเวณ  Far Field สามารถที่จะติดต่อสื่อสารได้ในระยะที่ไกลกว่า ลักษณะการสื่อสารข้อมูลระหว่างอาร์เอฟไอดีแท๊ก (RFID Tag)  กับเครื่องอ่านอาร์เอฟไอดี (RFID Reader) มีสามลักษณะคือ  Modulated […]